ไหเท้าช้าง
ทะเบียน | ภ/0002/2561 |
ชื่อ | ไหเท้าช้าง |
ลักษณะ | บริเวณคอมีเส้นนูนขึ้นมา ลำตัวป่องออกมาและสอยลงมา ด้านล่าง ฐานยกสูงมีลักษณะคล้ายเท้าช้าง บริเวณระหว่างคอ กับไหล่มีลายโค้งอยู่โดยรอบ บริเวณไหล่มีเส้นนูนล้อมรอบ 3 เส้น ลำตัวใกล้กับฐานมีเส้นนูน 4 เส้น บริเวณฐานมีเส้นนูน 5 เส้น เคลือบสีน้ำตาลเข้ม สภาพชำรุด ส่วนปากและคอหัก หายไป น้ำเคลือบลาส่วนหลุดร่อน |
กรรมวิธี | ดินเผา เนื้อแกรง |
ขนาดวัตถุ | สูง 41, กว้าง 31, ฐานกว้าง 15.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุดปากไหแตก พื้นผิวลอกหลายจุด |
แหล่งที่มา | พบมากในจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ และประเทศกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
หมายเหตุ |