ผ้าไหมยกดอกผกาจันทร์
ทะเบียน : | ผ/0121/2561 |
ชื่อ : | ผ้าไหมยกดอกผกาจันทร์ |
ลักษณะ : | เป็นลายดอกผกาจันทร์ สีแดง ลายดอกสีชมพู |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมกลางในการทอ ทอสลับกับดินทอง แบบยกตะกอ จำนวน 11 ตะกอ การทอผ้าไหมที่เชิดขึ้น แล้วพุ่งกระสวยไประหว่าง กลางโดยยกบางเส้นข่มบางเส้นเพื่อให้เกิดลวดลาย |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 100, ยาว 400 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ในชีวิตประจำวัน และในพิธีมงคลต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | คุณแม่เอือม แยบดี (บ้านเขวาสินรินทร์ อำเภอเขวาสินรินทร์ จังหวัดสุรินทร์) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าอัมปรมประยุกต์
ทะเบียน : | ผ/0122/2561 |
ชื่อ : | ผ้าอัมปรมประยุกต์ |
ลักษณะ : | เป็นลายดอกผกาจันทร์ สีเหลืองทอง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ เส้นยืนอัมปรมทอสลับกับเส้นไหมยืน สีเหลืองทอง |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 100, ยาว 360 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ในชีวิตประจำวัน และในพิธีมงคลต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | อาจารย์สุดใจ สะอาดยิ่ง (ผู้บริจาค) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) |
ดูรายละเอียด
ผ้าไหมมัดหมี่ลายสร้างสรรค์
ทะเบียน : | ผ/0123/2561 |
ชื่อ : | ผ้าไหมมัดหมี่ลายสร้างสรรค์ |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีเปลือกมังคุด ลายเป็นรูปไก่ ต้นมะพร้าว ต้นสน เนื้อผ้านิ่ม |
กรรมวิธี : | เกิดจาการจินตนาการลวดลายที่สวยงามแล้วนำวัตถุดิบในธรรมชาติมาย้อมกับเส้นเพื่อให้เกิดสีสันตามความต้องการ ใช้ไหม บ้านในการทอ แบบ 3 ตะกอ (จำนวน 33 ลำ) |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 95, ยาว 368 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้าพันคอ หรือผ้าคลุมไหล่ในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | คุณอารี-คุณประชา ปิยะไพร (ผู้บริจาค) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าไหมมัดหมี่ลายเกล็ดเต่า
ทะเบียน : | ผ/0124/2561 |
ชื่อ : | ผ้าไหมมัดหมี่ลายเกล็ดเต่า |
ลักษณะ : | ลายเหมือนเกล็ดเต่า มีความเงางาม เรียบหรู สีน้ำตาลแดง |
กรรมวิธี : | ทอเป็นลายสี่เหลี่ยมแบบยกตะกอ จำนวน 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำดับ) ใช้ไหมกลางในการทอ ไหมพุ่งและไหมยืนทำให้เกิด ลวดลาย มีฟืมเป็นเครื่องกระแทกให้เส้นพุ่งชิดติดกัน และต้อง มีเขา (ตะกอ) ในการยกเส้นยืนให้ขึ้นลงเพื่อให้เกิดช่องสอดด้าย เส้นพุ่งโดยกระสวย |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 100, ยาว 336 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | เรือนรักร้อย อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ (ผู้บริจาค) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าฝ้ายลายตะขอชิ้น
ทะเบียน : | ผ/0125/2561 |
ชื่อ : | ผ้าฝ้ายลายตะขอชิ้น |
ลักษณะ : | ลายตะขอ สีน้ำตาลแดง |
กรรมวิธี : | ทอเป็นลายสี่เหลี่ยมแบบยกตะกอ จำนวน 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำดับ) ใช้ไหมบ้านในการทอ ผ้าฝ้ายทอสลับมัดหมี่และ ฝ้ายล้วน |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90, ยาว 178 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | คุณอารี-คุณประชา ปิยะไพร (ผู้บริจาค) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้ำ) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าฝ้ายมัดหมี่ลายช้าง
ทะเบียน : | ผ/0126/2561 |
ชื่อ : | ผ้าฝ้ายมัดหมี่ลายช้าง |
ลักษณะ : | พื้นสีม่วง ลายช้างสีเหลือง |
กรรมวิธี : | ใช้ฝ้ายในการ จำนวน 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำดับ) |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90, ยาว 120 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | ช่างทอผ้าอำเภอชุมพลบุรี จังหวัดสุรินทร์ |
แหล่งที่มา : | คุณอารี-คุณประชา ปิยะไพร (ผู้บริจาค) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าสมอ
ทะเบียน : | ผ/0127/2561 |
ชื่อ : | ผ้าสมอ |
ลักษณะ : | เป็นผ้าในกลุ่มของลายผ้าอันลูนซีน หรือผ้าลายตาราง เป็นตารางสี่เหลี่ยมเล็กๆ ประกอบด้วยสีเขียวด่าง |
กรรมวิธี : | มีการทอโดยไม่มัดหมี่ ซึ่งใช้ไหมพุ่งและไหมยืนหลายสี แบบเดียวกันทอขัดกันเกิดเป็นตาราง ทอแบบ 2 ตะกอ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 80, ยาว 200 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้นุ่งห่มในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูมโบราณ
ทะเบียน : | ผ/0128/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูมโบราณ |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลายพระตะบอง เนื้อผ้านิ่ม |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 75 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 92, ยาว 168 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | - |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา อายุมากกว่า 100 ปี |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด