ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0061/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีม่วง ลายเชือกสองเส้น (กระแซปรีร์) กุ้นขอบชายผ้าสีแดง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 84, ยาว 68 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ค่อนข้างสมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0062/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีน้ำตาลแดง ลายใบไม้ กุ้นขอบชายผ้าสีเหลืองธรรมชาติ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90, ยาว 124 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าที่ใช้สำหรับชนชั้นสูงและขุนนาง |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดเล็กๆ หลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0063/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นสีดำ ลายสีน้ำตาล สีแดง และสีเขียว ลายตะขอเชิงเทียน กุ้นขอบชายผ้าสีเหลือง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 33 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 84, ยาว 154 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา อายุมากกว่า 100 ปี |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าโฮล
ทะเบียน : | ผ/0064/2561 |
ชื่อ : | ผ้าโฮล |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีแดง กุ้นขอบชายผ้าสีเหลือง |
กรรมวิธี : | เป็นผ้าไหมมัดหมี่ที่ใช้ไหมน้อยในการทอ มีการมัดย้อม เส้นพุ่งด้วยวิธีการเฉพาะ เรียกว่า “จนองโฮล” ทอแบบ 3 ตะกอ การทอจะใช้เทคนิคพิเศษให้ ลายเฉียงขึ้น เรียกว่า “ปะน๊ะ” การมัดย้อมจะนิยมใช้สีธรรมชาติและมัดย้อม หลายครั้ง ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 21 ลำ) ใช้สีธรรมชาติ ในการมัดย้อม |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 93, ยาว 152 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้านุ่งสำหรับผู้ชายในการประกอบพิธีกรรม งานสำคัญ หรืองานในพระราชพิธีต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา อายุมากกว่า 100 ปี |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0065/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีน้ำตาล ลายตะขอใหญ่ ขอบชายผ้าสีดำ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 33 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 95 , ยาว 150 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีสภาพเก่าและขาดหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0066 (1)/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีม่วง ลายตะขอล้อมเพชร กุ้นขอบชายผ้าสีดำ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 49 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90, ยาว 160 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดและปะชุนหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0066 (2)/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีม่วง ลายตะขอล้อมเพชร กุ้นขอบชายผ้าสีดำ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 49 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90, ยาว 160 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดและปะชุนหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0067/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีเม็ดมะขาม ลายตะขอล้อมเพชรโคมใหญ่ กุ้นขอบชายผ้าสีน้ำตาลอ่อน |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 75 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม สีเหลืองได้จากเข ย้อมทับ สีแดงได้จากครั่ง และใช้คราม ผ้าจึงออกมาเป็นสีเม็ดมะขาม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจากการมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไป ทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 89, ยาว 154 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยชาดขนาดใหญ่ และหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด