พระพุทธรูปปางมารวิชัย
ทะเบียน : | ศ/0001/2561 |
ชื่อ : | พระพุทธรูปปางมารวิชัย |
ลักษณะ : | พระพุทธรูปแสดงปางมารวิชัยประทับนั่งบนฐานหน้ากระดานสูงพระพักตร์รูปไข่ พระขนงเป็นเส้นยาวเชื่อมกับพระนาสิก พระนาสิกค่อนข้างแบน พระโอษฐ์เล็ก พระเนตรเซาะเป็นร่อง ระหว่างพระหนุและพระโอษฐ์เป็นสันนูน พระเกศาเซาะเป็นลายตารางและเส้นยาวพระอุษณีษะนูนเป็นเส้น พระรัศมีทรงกรวย พระกรรณยาว ปลายพระกรรณแหลม พระศอเป็นปล้อง 2 ปล้อง พระอังสาลาดคลองจีวรห่มเฉียงเป็นพระอังสาขวา ซ้ายสังฆาฏิยาวจรด พระสงฆ์ ปั้นพระองค์มีรอบสบง นิ้วพระหัตถ์และพระบาทยาวเสมอกัน |
กรรมวิธี : | แกะสลักจากไม้ชิ้นเดียว |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 50.5, ฐานสูง (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นรูปเคารพในศาสนาพุทธ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด มีรอยราวตั้งแต่พระเกศาจนถึงฐานด้นล่าง ปลายพระกรรณขวา ด้านล่างหักหายไป ปลายพระกรรณซ้ายด้านบนหักหายไปเล็กน้อย มีรอยแมลงกัดแทะ พระชมป์หักหายไปเล็กน้อย ลงรักปิดทอง |
แหล่งที่มา : | มีการพบในวัดต่าง ๆ ทั้งในจังหวัดสุรินทร์ และภาคอีสาน |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
หีบคัมภีร์
ทะเบียน : | ศ/0002/2561 |
ชื่อ : | หีบคัมภีร์ |
ลักษณะ : | ทรงสี่เหลี่ยมพื้นผ้ามีฝาเปิดได้มีบานพับ ตัวหีบและฝาเจาะเป็น ช่องรูปวงรี ฝา 2 วง ตัวหีบ 4 วง กุรด้วยกระจก มีลายเซาะเป็น ร่องเหมือนลายพันธุ์พฤษา ภายในบรรจุคัมภีร์ใบลาน สภาพ ชำรุด กระจกกรุฝาหายไป 1 จุด จุดตรงกลางฐานหีบแตกหายไป |
กรรมวิธี : | แกะสลักจากไม้ชิ้นเดียว |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | - |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุคัมภีร์ |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | สันนิษฐานว่าผู้มีความศรัทธาและนับถือศาสนาพุทธเป็นผู้สร้างถวายให้แก่วัด เพื่อให้พุทธศาสนิกชนได้สักการะบูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
แผงพระพิมพ์
ทะเบียน : | ศ/0003/2561 |
ชื่อ : | แผงพระพิมพ์ |
ลักษณะ : | แผงพระมีรูปทรงใบเสมา ส่วนบนมีลักษณะเป็นแบบกลีบบัว ภายในมี พระพิมพ์ติดอยู่จำนวน 5 องค์ แบ่งเป็นด้านบน 3 คู่ พระพิมพ์มีลักษณะ สามเหลี่ยมเป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัยประทับนั่งขัดสมาธิราบ ครองจีวรห่มเฉียงเป็นพระอังสาขวา พระหัตถ์รูปไข่ พระรัศมีทรงกรวย ชายจีวรปลายตัดตรงยาวจรดพระนาภี องค์พระหุ้มด้วยโลหะภายในเป็นดิน ส่วนฐานเป็นทรงสี่เหลี่ยมตรงกลางแกะลายดอกไม้สี่กลีบและมีกลีบแงออกมาข้างละ 3 กลีบ ฐานด้านล่างเซาะเป็นตาราง สภาพชำรุด พระพิมพ์จำนวน 2 องค์ด้านบน |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 45, ฐานกว้าง 17.5, หนา 1.1 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุพระพุทธรูป เป็นรูปเคารพ หรือสิ่งเคารพในพระพุทธศาสนา |
สภาพวัตถุ : | องค์ที่1 โลหะที่หุ้มอยู่ด้านล่างหักหายไปบางส่วนเห็นเป็นพื้นดินด้านใน องค์ที่ 2 โลหะหุ้มหายไป องค์ที่ 3-5 หลุดหายไป |
แหล่งที่มา : | มีการพบในวัดต่างๆ ทั้งในจังหวัดสุรินทร์และภาคอีสาน |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
สมุดไทยขาว
ทะเบียน : | ศ/0004/2561 |
ชื่อ : | สมุดไทยขาว |
ลักษณะ : | มีรูปทรงสี่เหลี่ยมผืนผ้า เขียนอักษรขอมด้วยหมึกสีดำ มี41เพนิก(หน้าคู่) สภาพชำรุด มีรอยแมลงกัดแทะบางหน้า ตัวอักษรเลอะเลือน บางหน้าใส่ด้ายเย็บไว้ให้ติดกัน |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | - |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นเอกสารโบราณ ใช้ลักษณะเป็นหนังสือจดหมายเหตุ จดหมายรับสั่ง ตำนาน ตำรา บางครั้งเรียกว่า สมุดข่อย สมุดมีอยู่ด้วยกัน 2 สี คือสมมุดไทยขาว และสมุดไทยดำ |
สภาพวัตถุ : | - |
แหล่งที่มา : | พบจัดเก็บอยู่ในวัด แต่การจัดเก็บยังไม่ถูกต้องตามหลัก การอนุรักษ์ สมุดไทยจึงมีสภาพชำรุดจากแมลงกัดแทะ น้ำฝนอัคคีภัย ปัจจุบันหาได้ยากแล้ว |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
เศียรนาค
ทะเบียน : | ศ/0005/2561 |
ชื่อ : | เศียรนาค |
ลักษณะ : | มีลักษณะเป็นนาคเศียรเดียว แกะสลักตั้งแต่ส่วนหัวถึงคอ มีหงอนด้านบนกระจัง |
กรรมวิธี : | ไม้แกะสลัก |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | - |
ประโยชน์ใช้สอย : | สันนิษฐานว่าใช้ติดตั้งไว้บริเวณบันไดทางขึ้นโบสถ์ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด เนื้อไม้มีรอยแตกโดยรอบ |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าห่อคัมภีร์
ทะเบียน : | ศ/0006/2561 |
ชื่อ : | ผ้าห่อคัมภีร์ |
ลักษณะ : | ขนาดสี่เหลี่ยมผื่นผ้า สีเหลืองทอง ภายในบรรจุคัมภีร์ จำนวน 3 คัมภีร์ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบยกดอกกว่า 4 ตะกอ ทอด้วยผ้า ยกดอกลายตะขอ จำนวน 40 ตะกอ ใช้เส้นไหมย้อมสีธรรมขาติ (เข และประหูด) เย็บผ้าเก็บตะกอลายหน้านาง |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้างพร้อมเชือก 126, ยาว 95 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ห่อคัมภีร์ใบลาน |
สภาพวัตถุ : | ใช้ห่อคัมภีร์ใบลาน |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าห่อคัมภีร์
ทะเบียน : | ศ/0007/2561 |
ชื่อ : | ผ้าห่อคัมภีร์ |
ลักษณะ : | ขนาดสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลายตารางผ้าขาวม้า โทนสีแดง โครงใน เป็นไม้ |
กรรมวิธี : | ใช้สีธรรมชาติในการย้อม ทอแบบ 2 ตะกอ |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 42, ยาว 82 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ห่อคัมภีร์ใบลาน |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าห่อคัมภีร์ (ผ้าขาวม้า)
ทะเบียน : | ศ/0008/2561 |
ชื่อ : | ผ้าห่อคัมภีร์ (ผ้าขาวม้า) |
ลักษณะ : | ขนาดสี่เหลี่ยมผืนผ้า ผืนผ้าสีม่วงและสีเขียว โครงในเป็นไม้ไผ่ ภายในบรรจุคัมภีร์ จำนวน 24 คัมภีร์ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมบ้านในการทอ ย้อมสีธรรมชาติ |
ชนิด : | ศาสนา |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 52.5, ยาว 81.3 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ห่อคัมภีร์ใบลาน |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด