ไหเท้าช้าง
ทะเบียน : | ภ/0001/2561 |
ชื่อ : | ไหเท้าช้าง |
ลักษณะ : | คอค่อนข้างแคบ ลำตัวป่องกลาง ฐานสูงมีลักษณะคล้ายเท้าช้าง บริเวณคอตกแต่งลวดลายหยัก ที่หัวไหล่มีเส้นนูนล้อมรอบ 3 เส้น บริเวณฐานมีสายหยักนูนขึ้นมา น้ำเคลือบสีน้ำตาลเข้ม สภาพชำรุด ปากแตกหักหายไปฐานบางส่วนที่น้ำเคลือบ |
กรรมวิธี : | ดินเผา เนื้อแกรง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 41.5, กว้่าง 28.5, ฐานกว้าง 16 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด ปากไหแตก |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ไหเท้าช้าง
ทะเบียน : | ภ/0002/2561 |
ชื่อ : | ไหเท้าช้าง |
ลักษณะ : | บริเวณคอมีเส้นนูนขึ้นมา ลำตัวป่องออกมาและสอยลงมา ด้านล่าง ฐานยกสูงมีลักษณะคล้ายเท้าช้าง บริเวณระหว่างคอ กับไหล่มีลายโค้งอยู่โดยรอบ บริเวณไหล่มีเส้นนูนล้อมรอบ 3 เส้น ลำตัวใกล้กับฐานมีเส้นนูน 4 เส้น บริเวณฐานมีเส้นนูน 5 เส้น เคลือบสีน้ำตาลเข้ม สภาพชำรุด ส่วนปากและคอหัก หายไป น้ำเคลือบลาส่วนหลุดร่อน |
กรรมวิธี : | ดินเผา เนื้อแกรง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 41, กว้าง 31, ฐานกว้าง 15.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุดปากไหแตก พื้นผิวลอกหลายจุด |
แหล่งที่มา : | พบมากในจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ และประเทศกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ไหเท้าช้าง
ทะเบียน : | ภ/0003/2561 |
ชื่อ : | ไหเท้าช้าง |
ลักษณะ : | รูปทรง บริเวณคอแคบ มีลวดลายขีดพ้นปลาเป็นขั้นๆ 2 ขั้น บริเวณไหล่ลายโค้งรอบไหล่ และมีลายเส้นนูน 3 เส้น รอบไหล่ บริเวณฐาน ลายเส้นนูนเป็นขั้นประมาน 9 ขั้น สีเคลือบสีน้ำตาล |
กรรมวิธี : | ดินเผา เนื้อแกรง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 24, กว้าง 20, ฐานกว้าง 10 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด ปากแตกหายไป ลำตัว ไหล่ แตกหายไป ฐานมีรอยกะเทาะ น้ำเคลือบหลุดร่อน |
แหล่งที่มา : | พบมากในจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ และประเทศกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ไหเท้าช้าง
ทะเบียน : | ภ/0004/2561 |
ชื่อ : | ไหเท้าช้าง |
ลักษณะ : | บริเวณคอมีเส้นนูน ลำตัวป่อง ฐานสอบลง ฐานสูงมีลักษณะ คล้ายเท้าช้าง บริเวณไหล่เป็นเส้นนูน มีลายเส้นโค้งอยู่โดยรอบ บริเวณระหว่างคอและไหล่ เคลือบน้ำสีน้ำตาล |
กรรมวิธี : | ดินเผา เนื้อแกรง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 30, กว้าง 22, ฐานกว้าง 11 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด ปากแตกหายไป ลำตัว ไหล่ แตกหายไป ฐานมีรอย กะเทาะ น้ำเคลือบหลุดร่อน |
แหล่งที่มา : | พบมากในจังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ และประเทศ กัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ไหเท้าช้าง
ทะเบียน : | ภ/0005/2561 |
ชื่อ : | ไหเท้าช้าง |
ลักษณะ : | ปากผายออก คอแคบลำตัวป่องน้ำเคลือบสีน้ำตาล บริเวณคอ มีลายนูนเป็นชั้น 3 ชั้น บริเวณไหล่มีลายครึ่งวงกลมเรียงกัน โดยรอบ ลำตัวลายเส้นวงกลมนูนโดยรอบและลายครึ่งวงกลม เรียงกันโดยรอบ บริเวณก้นภาชนะมีลายเส้นวงกลมและเป็นชั้น |
กรรมวิธี : | ดินเผา เนื้อแกรง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 37, กว้าง 27, ฐานกว้าง 9 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด ฐานแตกหายไป ปากแตกหายไปบางส่วน น้ำเคลือบ หลุดร่อน |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
กระปุก
ทะเบียน : | ภ/0006/2561 |
ชื่อ : | กระปุก |
ลักษณะ : | ทรงกลม ปากเล็ก คอมีเส้นโดยรอบ 3 เส้น ลำตัวป่องออก ค่อนข้างกลมก้นตัด เคลือบน้ำเคลือบสีน้ำตาล |
กรรมวิธี : | ดินเผาเคลือบเนื้อแกร่ง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 11, กว้าง 11 , ฐานกว้าง 7 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวัน และการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด ปากแตกหักหายไป น้ำเคลือบหลุดร่อนบางส่วน |
แหล่งที่มา : | ผลิตจากแหล่งเตาโบราณ ซึ่งพบอยู่เป็นจำนวนมากบริเวณ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
กระปุก
ทะเบียน : | ภ/0007/2561 |
ชื่อ : | กระปุก |
ลักษณะ : | ทรงกลม ทรงค่อนข้างกลม ปากเล็ก ลำตัวป่องแล้วค่อยๆ สอบ ลงมา มีเชิงเล็กน้อยผิวมีสีน้ำตาล น้ำเคลือบมีรอยแตกราบ |
กรรมวิธี : | ดินเผาเคลือบเนื้อแกร่ง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 5, กว้าง 4.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธี กรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุดปากปิ่น |
แหล่งที่มา : | ผลิตจากแหล่งเตาโบราณ ซึ่งพบอยู่เป็นจำนวนมากบริเวณ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
กระปุก
ทะเบียน : | ภ/0008/2561 |
ชื่อ : | กระปุก |
ลักษณะ : | ทรงกลมปากเล็ก รอบปากมีเส้นโดยรอบ 2 เส้น ก้นติด เคลือบน้ำเคลือบสีน้ำตาลเข้ม ลำตัวป่อง |
กรรมวิธี : | ดินเผาเคลือบเนื้อแกร่ง |
ชนิด : | ภาชนะ |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | สูง 4.5, กว้าง 5.5, ฐานกว้าง 4.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้บรรจุของเหลวเพื่อใช้ในชีวิตประจำวันและการประกอบพิธีกรรมต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด ก้นละทุ น้ำเคลือบบางส่วนหลุดร่อน |
แหล่งที่มา : | ผลิตจากแหล่งเตาโบราณ ซึ่งพบอยู่เป็นจำนวนมากบริเวณ จังหวัดสุรินทร์ และจังหวัดบุรีรัมย์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด