เฉออันตอง
ทะเบียน : | พบ/0016/2561 |
ชื่อ : | เฉออันตอง |
ลักษณะ : | ทรงสามเหลี่ยมปลายตัด ทาสีแดงสสับสีดำ ส่วนปลายมีไม้ ทรงกระบอกปักไว้ บริเวณตรงกลางวัตถุเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยม ทะลุ ส่วนฐานและ ส่วนบนแกะสลักลวดลายไทย ส่วนกลาง สลักเป็นชั้น 3 ชั้น |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | พื้นบ้าน |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นายอนุชา ถือสมบัติ |
ขนาดวัตถุ : | สูง 45, กว้าง 14.5, หนา 5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้สำหรับผูกด้ายเพื่อมัดลายผ้า |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุดเล็กน้อย มีรอยแตกหักของลายแกะสลัก |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
เฉออันตอง
ทะเบียน : | พบ/0017/2561 |
ชื่อ : | เฉออันตอง |
ลักษณะ : | ทรงสามเหลี่ยมปลายตัด ทาสีแดงสสับสีดำ ส่วนปลายมีไม้ทรง กระบอกปักไว้ บริเวณตรงกลางวัตถุเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมทะลุ ส่วนฐานและ ส่วนบนแกะสลักลวดลายไทย ส่วนกลางสลัก เป็นชั้น 3 ชั้น |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | พื้นบ้าน |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นายอนุชา ถือสมบัติ |
ขนาดวัตถุ : | สูง 42.5, กว้าง 11.5, หนา 4.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้สำหรับผูกด้ายเพื่อมัดลายผ้า |
สภาพวัตถุ : | ใช้สำหรับผูกด้ายเพื่อมัดลายผ้า |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
เฉออันตอง
ทะเบียน : | พบ/0018/2561 |
ชื่อ : | เฉออันตอง |
ลักษณะ : | ทรงสามเหลี่ยมปลายตัด ทาสีแดงสสับสีดำ ส่วนปลายมีไม้ทรง กระบอกปักไว้ บริเวณตรงกลางวัตถุเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมทะลุ ส่วนฐานและ ส่วนบนแกะสลักลวดลายไทย ส่วนกลางสลัก เป็นชั้น 3 ชั้น |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | พื้นบ้าน |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นายอนุชา ถือสมบัติ |
ขนาดวัตถุ : | สูง 41.5, กว้าง 11.5, หนา 4.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้สำหรับผูกด้ายเพื่อมัดลายผ้า |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุดเล็กน้อย มีรอยแตกหักของลายแกะสลัก |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ถาดไม้คนข้าวเหนียว
ทะเบียน : | พบ/0019/2561 |
ชื่อ : | ถาดไม้คนข้าวเหนียว |
ลักษณะ : | ทรงกลมขนาดใหญ่ มีด้ามจับ |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | พื้นบ้าน |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นายอนุชา ถือสมบัติ |
ขนาดวัตถุ : | สูงพร้อมด้าม 61.5, กว้าง 51, หนา 6.5 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้สำหรับคนข้าวเหนียวเวลาสุกใหม่ๆ เมื่อข้าวสุกได้ที่แล้ว จะต้องยกไหข้าวเทลงบนถาดไม้ เพื่อให้ความร้อน หรือไอ จากการนึ่งออกไป ให้ความร้อนพอดี ไม่ให้ข้าวที่จะใส่ ในไหแฉะจนเกินไป |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด มีรอยแตกร้าวหลายจุด |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
เฉออันตอง
ทะเบียน : | พบ/0021/2561 |
ชื่อ : | เฉออันตอง |
ลักษณะ : | ทรงสามเหลี่ยมปลายตัด ทาสีแดงสสับสีดำ ส่วนปลายมีไม้ทรง กระบอกปักไว้ บริเวณตรงกลางวัตถุเจาะเป็นช่องสี่เหลี่ยมทะลุ ส่วนฐานและ ส่วนบนแกะสลักลวดลายไทย ส่วนกลางสลัก เป็นชั้น 3 ชั้น |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | พื้นบ้าน |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นายอนุชา ถือสมบัติ |
ขนาดวัตถุ : | สูง 46.5, กว้าง 12.5, หนา 4 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้สำหรับผูกด้ายเพื่อมัดลายผ้า |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุดเล็กน้อย มีรอยแตกหักของลายแกะสลัก |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
แอก
ทะเบียน : | พบ/0020/2561 |
ชื่อ : | แอก |
ลักษณะ : | ทำจากท่อนไม้เนื้อแข็ง มีความโค้งงอ ประกอบด้วยแม่แอก (ไม้คาน) และลูกแอก (ไม้หนีบคอวัว ควาย) จะมีรูบนตัวแอก ข้างละ 2 รู เพื่อใส่ไม้เหลากลมข้างละ 2ซี่ สำหรับครอบลงบน คอควายหรือวัว |
กรรมวิธี : | ไม้ |
ชนิด : | พื้นบ้าน |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านวัตถุ นางสาวเบญจพร สารพรม ตำแหน่งหัวหน้าพิพิธภัณฑสถานแหล่งชาติสุรินทร์ (ปี 2560) |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นายอนุชา ถือสมบัติ |
ขนาดวัตถุ : | สูง 73, กว้าง 65 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้สำหรับคล้องกับคอวัว ควาย เพื่อลากไถ คราด เป็นแม่แรง ในการทำให้ไถนาได้ หรือเทียมเกวียนเป็นเครื่องบังคับไปใน ทิศทางที่เราต้องการ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุดเล็กน้อย มีรอยแตกหักของลายแกะสลัก |
แหล่งที่มา : | - |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด