ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0053/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า กุ้นชายผ้าสีเหลือง ลายโคมเจ็ด พื้นสีแดง ลายสีเหลืองและสีดำ เนื้อผ้านิ่ม |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ มัดย้อมแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 120 , ยาว 180 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | สภาพชำรุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าโบราณ (ผ้าปูม)
ทะเบียน : | ผ/0054/2561 |
ชื่อ : | ผ้าโบราณ (ผ้าปูม) |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดของผ้าพอดีกับใบลาน ลายพระตะบอง ต้นไม้โคมใหญ่ สีแดง ลวดลายประณีต งดงาม |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมบ้านในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 75 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการย้อม |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 140, ยาว 168 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ผู้ทอนำไปถวายเพื่อใช้ในการห่อคัมภีร์ใบลาน เป็นการเก็บรักษาคัมภีร์ไว้ให้ดี ถือเป็นการได้อานิสงค์อย่างสูง |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด ปะชุน |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าไหมพื้นเรียบ
ทะเบียน : | ผ/0055/2561 |
ชื่อ : | ผ้าไหมพื้นเรียบ |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า พื้นเรียบ สีเทา |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ มัดย้อมแบบ 2 ตะกอ ใช้สีเคมีในการย้อม |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 74, ยาว 102 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้ตัดเย็บเครื่องแต่งกาย |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดเล็กๆ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าสไบ
ทะเบียน : | ผ/0056/2561 |
ชื่อ : | ผ้าสไบ |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีแดงอมม่วง ยกทองที่ชายผ้าทั้งสองด้าน |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ใช้เทคนิคการทอแบบเหยียบตะกอ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 226, ยาว 67 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้าสไบคลุมบ่า หรือใช้พาดเอวในการประกอบพิธีกรรม ต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด รอยขาดมีขนาดใหญ่ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0057/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลายเกล็ดเต่า สีแดง กุ้นขอบสีแดง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 85, ยาว 144 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้าในราชสำนัก หรือใช้ในงานราชพิธีต่าง ๆ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด ปะชุน มีรอยด่างเป็นแนวยาว |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0058/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลายพระตะบอง หรือลายแหวนเพชร สีน้ำตาลแดง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 33 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 158, ยาว 90 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้านุ่งในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0059/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า ลายดอกพิกุล สีแดง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 25 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจาก การมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 192, ยาว 120 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้านุ่งในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | ชำรุดหลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าปูม
ทะเบียน : | ผ/0060/2561 |
ชื่อ : | ผ้าปูม |
ลักษณะ : | เป็นผ้าสี่เหลี่ยมผืนผ้า สีแดง ลายนาคเกี้ยวโคมใหญ่ กุ้นขอบผ้าดำ |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมน้อยในการทอ ทอแบบ 3 ตะกอ (จำนวน 75 ลำ) ใช้สีธรรมชาติในการมัดย้อม ลายมัดหมี่เป็นลวดลายที่เกิดจากการมัดย้อมเส้นพุ่งแล้วนำไปทอเป็นผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 87, ยาว 160 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | เป็นผ้าบรรณาการ (สิ่งของที่ผู้มีสภาพด้วยกว่านำไปฝากผู้อื่น เพื่อความรู้สึกที่ดีต่อกัน) ใช้ในงานพิธี บ่งบอกถึงบรรดาศักดิ์ของผู้สวมใส่ |
สภาพวัตถุ : | ชำรุด มีรอยขาดเล็กๆ หลายจุด |
แหล่งที่มา : | ช่างทอผ้าชาวกัมพูชา |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด