ผ้าอัมปรม (ภาษาพื้นเมืองเรียก ผ้าจองกรา)
ทะเบียน : | ผ/0030/2561 |
ชื่อ : | ผ้าอัมปรม (ภาษาพื้นเมืองเรียก ผ้าจองกรา) |
ลักษณะ : | ลายตารางสี่เหลี่ยมจตุรัสเล็กๆ จะมีสีขาวลอยเด่นเหมือน ประกายดาวบนท้องฟ้าบนพื้นสีน้ำตาลแดง ลายผ้าสื่อ ความหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมเส้นกลางในการทอ การมัดหมี่สองทาง ทั้งเส้นพุ่ง และ เส้นยืนตลอดผืนผ้า แบบ 3 ตะกอ มัดย้อมเส้นไหมให้เป็น จุดประสีขาวลอยเด่นจากสีพื้นคล้ายกับเครื่องหมายกากบาท หรือเครื่องหมายบวกกระจายทั่วผืนผ้า |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90, ยาว 197 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้านุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น นุ่งไปวัดในงานบุญ งานสงกรานต์ หรือในงานพิธีสำคัญ |
สภาพวัตถุ : | ขาดจุดเล็กๆ มีรอยคราบสีดำ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าอัมปรมปกามะออม (ผ้าดอกอีออม)
ทะเบียน : | ผ/0031/2561 |
ชื่อ : | ผ้าอัมปรมปกามะออม (ผ้าดอกอีออม) |
ลักษณะ : | ลายตารางสี่เหลี่ยมจตุรัสเล็กๆ จะมีสีขาวลอยเด่น เหมือน ประกายดาวบนท้องฟ้าบนพื้นสีม่วงหรือสีเปลือกมังคุด ลายผ้า สื่อความหมายถึงความเจริญรุ่งเรือง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมเส้นกลางในการทอ การมัดหมี่สองทาง ทั้งเส้นพุ่งและ เส้นยืนตลอดผืนผ้า แต่จะทอสีม่วงที่ย้อมจากครามแทรก ไปด้วย จึงเรียกว่า ผ้าอัมปรมปกามะออม |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90 , ยาว 40 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้านุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น นุ่งไปวัดในงานบุญ งานสงกรานต์ หรือในงานพิธีสำคัญ |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าอัมปรมครั่ง
ทะเบียน : | ผ/0032/2561 |
ชื่อ : | ผ้าอัมปรมครั่ง |
ลักษณะ : | ลายตารางสี่เหลี่ยมจตุรัสเล็กๆ จะมีสีขาวลอยเด่น เหมือน ประกายดาวบนท้องฟ้าบนพื้นสีแดงเข้ม ลายผ้าสื่อความหมาย ถึงความเจริญรุ่งเรือง |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมเส้นกลางในการทอ การมัดหมี่สองทาง ทั้งเส้นพุ่งและ เส้นยืนตลอดผืนผ้า แต่จะทอสีแดงที่ย้อมจากครั่งแทรกไปด้วย จึงเรียกว่า ผ้าอัมปรมครั่ง |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 90 , ยาว 40 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้านุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น นุ่งไปวัดในงานบุญ งานสงกรานต์ หรือในงานพิธีสำคัญ |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าอัมปรมดำ (อัมปรมกร้า)
ทะเบียน : | ผ/0033/2561 |
ชื่อ : | ผ้าอัมปรมดำ (อัมปรมกร้า) |
ลักษณะ : | ลายตารางสี่เหลี่ยมจตุรัสเล็กๆ จะมีสีขาวลอยเด่น เหมือน ประกายดาวบนท้องฟ้าบนพื้นสีดำ ลายผ้าสื่อความหมาย ถึงความเจริญรุ่งเรือง |
กรรมวิธี : | ใช้การมัดหมี่สองทาง ทั้งเส้นพุ่งและเส้นยืนตลอดผืนผ้า คล้ายอัมปรมปกามะออม แต่จะเปลี่ยนจากสีม่วง มาเป็นสีดำ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 100 , ยาว 376 |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้เป็นผ้านุ่งในโอกาสพิเศษ เช่น นุ่งไปวัดในงานบุญ งานสงกรานต์ หรือในงานพิธีสำคัญ |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าตรูยสแน็ก (ลายยอดถั่ว)
ทะเบียน : | ผ/0034/2561 |
ชื่อ : | ผ้าตรูยสแน็ก (ลายยอดถั่ว) |
ลักษณะ : | ลายตารางเล็กๆ สีน้ำตาล |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมเส้นขนาดกลางในการทอ แบบ 2 ตะกอ ทอเป็นตาราง เล็กๆ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 100 , ยาว 400 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้นุ่งห่มในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าตรูยสแน็ก (ลายยอดถั่ว)
ทะเบียน : | ผ/0035/2561 |
ชื่อ : | ผ้าตรูยสแน็ก (ลายยอดถั่ว) |
ลักษณะ : | ลายตารางเล็กๆ สีน้ำตาล ส้ม เขียว |
กรรมวิธี : | ใช้ไหมเส้นขนาดกลางในการทอ แบบ 2 ตะกอ ทอเป็นตาราง เล็กๆ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 95 , ยาว 120 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้นุ่งห่มในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | คุณยายทวีคุณ ทองสุข (ผู้บริจาค) |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าไหมลายตะขอ (เส้นทำปั๊วะ)
ทะเบียน : | ผ/0036/2561 |
ชื่อ : | ผ้าไหมลายตะขอ (เส้นทำปั๊วะ) |
ลักษณะ : | เป็นลายตะขอ คิดจากตะขอที่ใช้เกี่ยวฟืมทอผ้า สีเปลือกมังคุด แถบเส้นตรงสีหลือง |
กรรมวิธี : | ใช้การมัดหมี่เป็นลายตะขอ ทอขึ้นระหว่างมัดหมี่ จะทำให้ ลวดลายที่เกิดขึ้นมองดูเป็นช่องๆ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 97, ยาว 388 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้นุ่งห่มในชีวิตประจำวัน |
สภาพวัตถุ : | สมบูรณ์ |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด
ผ้าสมอ
ทะเบียน : | ผ/0037/2561 |
ชื่อ : | ผ้าสมอ |
ลักษณะ : | เป็นผ้าในกลุ่มของลายผ้าอันลูนซีน หรือผ้าลายตาราง เป็นตารางสี่เหลี่ยมเล็กๆ ประกอบด้วยสีดำ เหลือง ทอง และสีเขียวขี้ม้า |
กรรมวิธี : | มีการทอโดยไม่มัดหมี่ ซึ่งใช้ไหมพุ่งและไหมยืนหลายสีแบบเดียวกันทอขัดกันเกิดเป็นตาราง ทอแบบ 2 ตะกอ |
ชนิด : | ผ้าไหม |
ผู้ให้ข้อมูล : | ผู้เชี่ยวชาญทางด้านผ้าไหมและปราชญ์ท้องถิ่น ประกอบไปด้วย นายสุดใจ สะอาดยิ่ง, นายต่อเกียรติ พันธ์มา, นางบุญเกื้อ คงดี, นางเอือม แยบดี |
ผู้บันทึกข้อมูล : | นางสาวบุษยาพรรณ เรียงสนาม, นางสาวเกศสุดา อินทวี |
ขนาดวัตถุ : | กว้าง 28 , ยาว 120 (ซม.) |
ประโยชน์ใช้สอย : | ใช้นุ่งห่มในชีวิตประจำวัน นิยมในคนสูงอายุ |
สภาพวัตถุ : | มีรอยชำรุดเล็กๆ ตรงตีนซิ่น |
แหล่งที่มา : | จังหวัดสุรินทร์ |
สถานที่จัดเก็บ : | หอวัฒนธรรม (พิพิธภัณฑ์ผ้า) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ |
ดูรายละเอียด